Keyword
Protein ,
peptide ,
biological activity ,
natural resources ,
โปรตีน ,
ท๊อคซิน ,
วีนึ่ม ,
เวสป้าแอฟฟิน ,
เวสป้าทรอปปิคก้า ,
ไฮยาลูโรไนเดส ,
จีนโคลนนิ่ง ,
จีนเอกเปรสชั่น ,
เปปไทด์ ,
ไบโอโลจิคอล เอจจิ้ง ,
เนเชอรัล รีซอร์จ ,
กิจกรรมทางชีวภาพ ,
แหล่งธรรมชาติ ,
ไบโอเซนเซอร์ ,
เอนไซม์ ,
โลหะหนัก ,
อาหาร ,
เครื่องดื่ม ,
เภสัชภัณฑ์ ,
ยาแผนโบราณ ,
Fเครื่องสำอาง ,
ผลิตภัณฑ์โภชนเภสัช ,
ไนซีเรียโกโนเรีย ,
ดีเอ็น ,
การศึกษาเชิงลึกและการประยุกต์ใช้โปรตีนหรือเปบไทด์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากทรัพยากรทางชีวภาพในประเทศไทย (ปี 4)
การโคลน การเพิ่มจำนวน การตกผลึก การศึกษากลไกการทำงาน และการพัฒนาการใช้ประโยชน์เอนไซม์และโปรตีนจากน้ำพิษสัตว์ (ปี 4)
การศึกษาเพื่อการประยุกต์ใช้โปรตีนออกฤทธิ์จากทรัพยากรทางชีวภาพ ในเชิงพาณิชย์
การศึกษาเพื่อการประยุกต์ใช้เอนไซม์และโปรตีนจากน้ำพิษสัตว์ในเชิงพาณิชย์
การศึกษาเพื่อการประยุกต์ใช้เอนไซม์และโปรตีนจากน้ำพิษสัตว์ในเชิงพาณิชย์อุตสาหกรรมและการแพทย์
การประยุต์ใช้เอนไซม์ไฮยาลูโรไนเดสจากน้ำพิษสัตว์เพื่อการเตรียมกรดไฮยาลูโรนิก
การตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อไนซ์ซีเรียโกโนร์เรียด้วยตัวตรวจจับที่เชื่อมติดกับอนุภาคทองคำนาโน
2561 : การศึกษาการเพิ่มจำนวนเอนไซม์ไฮยาลูโรไนเดส ลูกผสมจากน้ำพิษสัตว์ เพื่อประยุกต์กับการวินิจฉัยองค์ประกอบทางเคมีคลินิกของน้ำไขข้อของผู้ป่วย
2561 : การศึกษาและประยุกต์ใช้โปรตีนออกฤทธิ์จากทรัพยากรทางชีวภาพ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงเภสัชกรรม
การศึกษาเพื่อการประยุกต์ใช้สารออกฤทธิ์จากทรัพยากรทางชีวภาพ ในเชิงพาณิชย์ ปีที่ 2
ไบโอเซนเซอร์เอนไซม์ สำหรับการตรวจโลหะหนัก ในอาหาร เครื่องดื่ม และเภสัชภัณฑ์ (เป้าหมายที่ 2)
2563 : แป้งมันสำปะหลังทนอะไมเลสสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารลดน้ำหนัก อาหารผู้ป่วยเบาหวาน และผลิตภัณฑ์ยาไร้สารกันเสีย
2563 : การคาดเดาโครงสร้างสามมิติของเอนไซม์ไฮยาลูโรนิเดสที่มีต้นกำเนิดจากน้ำพิษต่อหลุม (Vespa tropica) ด้วยวิธีการทางคอมพิวเตอร์
2563 : การศึกษาเพื่อการประยุกต์ใช้สารออกฤทธิ์จากทรัพยากรทางชีวภาพ ในเชิงพาณิชย์ ปีที่ 3
2563 : ไบโอเซนเซอร์เพื่อการตรวจวัดกรดไฮยาลูโรนิกในซีรัมสำหรับตรวจคัดกรองโรคตับแข็งระยะแรก
2563 : การวิเคราะห์การเสริมภูมิคุ้มกัน ของโปรตีนไฮโดรไลเซทและผลิตภัณฑ์อาหารต้นแบบในหลอดทดลองและในสัตว์ทดลอง
2563 : การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ
2563 : การควบคุมคุณภาพวัตถุดิบสารสกัดธรรมชาติ
2563 : การพัฒนานักวิจัยมืออาชีพหลังปริญญาโทและหลังปริญญาเอกที่มีศักยภาพสูง
2563 : ผลิตภัณฑ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ใช้ภายนอก สำหรับผู้สูงอายุ
2563 : การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางเพื่อชะลอวัยจากจิ้งหรีด
2563 : มาตรฐานการผลิตตำรับยาเทคโนโลยีนาโนใช้ภายนอกในสัตว์เลี้ยง และเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจ
2563 : โครงการพัฒนามาตรฐานห้องปฎิบัติการวิเคราะห์วัตถุดิบ สารสกัดและผลิตภัณฑ์สมุนไพร
2563 : การฝึกอบรมและให้ความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้สารกําจัดศัตรูพืช
2563 : ชุดโครงการบูรณาการการวิจัย เพื่อการรายงานอุบัติการณ์และการเฝ้าระวังการปนเปื้อนสารกําจัดศัตรูพืชในผลิตภัณฑ์เพื่อการอุปโภคบริโภคในกลุ่มจังหวัดร้อยแก่นสารสินธุ์
2563 : การพัฒนาแพลตฟอร์มการเกษตรแม่นยำเพื่อเชื่อมห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมอาหาร สมุนไพรแปรรูป และเกษตรแปรรูปภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2563 : การพัฒนาห้องปฏิบัติการมาตรฐานเพื่อการตรวจสารสำคัญในสารสกัดจากธรรมชาติ
ต้นแบบผลิตภัณฑ์ไบโอเซนเซอร์ที่สามารถพกพาได้สำหรับการประยุกต์ใช้ในด้านการดูแลสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
โครงการการพัฒนาระบบบริการแนะนำและติดตามการใช้ยาที่บ้าน เพื่อการใช้ยาถูกต้องและปลอดภัยในผู้สูงวัยกลุ่มโรค NCDs ในภาคอีสานตอนล่าง
ตำรับเวชสำอางกรดไฮยาลูโรนิกสกัดจากหงอนไก่เหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ กับหลากสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพผิวหนังทุกช่วงวัย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เปปไทด์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ใช้ภายนอก เพื่อป้องกันการติดเชื้อดื้อยาของแผลสดหรือแผลกดทับในผู้สูงอายุในขั้นทดลองในสัตว์ทดลองและการศึกษาทางคลินิก
ไบโอเซนเซอร์เพื่อการตรวจวัดกรดไฮยาลูโรนิกในซีรัมสำหรับตรวจคัดกรองโรคตับแข็งระยะแรก
สารกำจัดแมลงศัตรูพืช ชนิดปลอดภัยยิ่งยวด
โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (OTOP) และผลิตภัณฑ์จากวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ประเภทกิจการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรและเครื่องสำอาง ให้เข้าสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) หรือมาตรฐานสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
การวิจัยและพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศมาตรฐานสมุนไพรแบบครบวงจรแห่งภาคอีสาน
การบริหารจัดการนวัตกรรมสำหรับศูนย์ความเป็นเลิศมาตรฐานสมุนไพรแบบครบวงจรแห่งภาคอีสาน
การควบคุมคุณภาพวัตถุดิบเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยสำหรับผู้สูงวัย
การพัฒนาห้องปฏิบัติการมาตรฐานการพัฒนาห้องปฏิบัติการมาตรฐานเพื่อการควบคุมคุณภาพการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยสำหรับผู้สูงวัย
การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยสำหรับผู้สูงวัย
การศึกษาและการวิจัยผลิตภัณฑ์รวมรังนกสกัด ขมิ้นและนาโนเปบไทด์ ในเชิงคุณภาพ มาตรฐานเชิงวิเคราะห์ เชิงคลินิก และความปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการตลาดในและต่างประเทศ
การพัฒนาสมุนไพรพื้นบ้าน สู่มาตรฐาน มผช.
การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมสมุนไพรแปรรูปด้านการบริหารจัดการและการพัฒนามาตรฐานอุตสาหกรรม
การศึกษาฤทธิ์เพิ่มภูมิคุ้มกันของเคอร์คูมาเนส+TM: ผลิตภัณฑ์รวมรังนก ขมิ้นและนาโนเปบไทด์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคอุบัติใหม่
เทคโนโลยีการผลิตไบโอเอทานอลประสิทธิภาพสูง ด้วยค็อกเทลอะไมเลสที่มีต้นกำเนิดจากผลไม้ไทย
การพัฒนาแป้งมันสำปะหลังที่ไม่อาจย่อยได้เพื่อใช้ในเภสัชภัณฑ์อย่างหลากหลาย
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีนไฮโดรไลเซทไร้อัลเลอร์เจนจากจิ้งหรีดเพื่อเสริมสมรรถนะและความทนทานของกล้ามเนื้อ
การสกัดกรดไขมันไม่อิ่มตัวกลุ่ม โอเมก้า จากวัตถุดิบถั่วดาวอินคาและทรัพยากรต่าง ๆ ในท้องถิ่น ในระดับเชิงพานิชย์ ด้วยวิธีลดเพิ่มอุณหภูมิสู่จุดหลอมเหลวแบบขั้นบันได
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กรดไฮยาลูโรนิกจากหงอนไก่
โครงการศึกษาและวิเคราะห์การดำเนินงานย้อนหลังของ บพค. เพื่อประเมินและนำส่งเชิงนโยบาย (ครั้งที่ 1)
การพัฒนาตำรับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันสำหรับผู้มีภูมิคุ้มกันต่ำ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพื้นบ้านสู่มาตรฐานสากลและการตลาดออนไลน์ สำหรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรระดับตำบล
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมใบและเมล็ดน้อยหน่าเพื่อผลของสมดุลทางจุลชีววิทยาในมนุษย์
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อการพัฒนาสมรรถนะของร่างกายเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬา
ฤทธิ์ปรับเปลี่ยนภูมิคุ้มกันของสารสกัดขมิ้นชัน บัวบก และฟ้าทะลายโจร
การศึกษาฤทธิ์ปรับภูมิคุ้มกันของสาร ผลิตภัณฑ์ และสมุนไพร เพื่อการเสริมภูมิคุ้มกันต้านต่อโรคอุบัติใหม่
ตำรับและเภสัชภัณฑ์ของสารสำคัญจากอวัยวะต่าง ๆ ของอาร์โทรปอดพื้นถิ่นพร้อมผลงานการวิจัยขั้นสูง
สูตรอาหารเสริมแอปเปิลไซรัปร่วมกับสารสกัดเห็ดหลินจือเพื่อบรรเทาความทุกข์ทรมานจากเคมีบำบัดและรังสีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็ง
โครงพัฒนาการส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพอุตสาหกรรมการผลิตอาหารเสริม เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สมุนไพรแปรรูปในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ