Keyword
ไฮโดรเจน ,
มีเทน ,
ลำต้นปาล์มน้ำมัน ,
การผลิตไฮโดรเจนและมีเทนแบบสองขั้นตอน ,
การหมักแบบสองขั้นตอนโดยกระบวนการหมักแบบไม่ใช้แสงและกระบวนการหมักแบบใช้แสง ,
การปรับสภาพด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ ,
การย่อยด้วยเอนไซม์เซลลูเลส ,
การผลิตแก็สไฮโดรเจนและมีเทนแบบสองขั้นตอน ,
การผลิตมีเทนแบบขั้นตอนเดียว ,
การหมักแบบไม่ใช้แสงร่วมกับการหมักแบบใช้แสง ,
การปรับสภาพด้วย ,
การหาสภาวะที่เหมาะสมของการผลิตไฮโดรเจนและน้ำมันจากกรดอะซิติกและกรดบิวทีริก โดยแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วงกลุ่มไม่สะสมกำมะถันที่คัดแยกได้ ภายใต้สภาวะการหมักแบบใช้แสง ในการหมักแบบกะ
สภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตไฮโดรเจนจากวัสดุประเภทน้ำตาล โดยใช้กลูโคสเป็นสับสเตรท ต้นแบบ โดยเชื้อผสมระหว่างLactobacillus delbrueckii spp. bulgaricus TISTR 895 และ Rhodobacter sphaeroides KKU-PS5
การย่อยสลายเพื่อให้ได้น้ำตาลพร้อมกับการหมักเพื่อผลิตไฮโดรเจนจากลำต้นปาล์มน้ำมันและการใช้น้ำทิ้งจากกระบวนการผลิตไฮโดรเจนเพื่อผลิตมีเทน
การผลิตพลังงานไฮโดรเจนและมีเทนอย่างมีประสิทธิภาพจากลำต้นปาล์มน้ำมัน
2561 : การปรับสภาพหญ้าเนเปียร์สด/หญ้าเนเปียร์หมักด้วยตัวทำละลายอินทรีย์และการย่อยด้วยเอนไซม์เซลลูเลส เพื่อใช้ในการผลิตแก็สไฮโดรเจนและมีเทน
การปรับสภาพหญ้าเนเปียร์ด้วยไมโครเวฟร่วมกับการย่อยด้วยเอนไซม์เซลลูเลส เพื่อใช้ในการผลิตไฮโดรเจนและมีเทน
2562 : การใช้ประโยชน์จากข้าวฟ่างหวานเพื่อการผลิตพลังงานชีวภาพและสารชีวภัณฑ์ที่มี มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ
2563 : การประยุกต์ใช้ก๊าซไฮเทนเพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานใหม่สำหรับสถานีสับเปลี่ยนแบตเตอรี่ในชุมชนต้นแบบสีเขียว
2563 : การพัฒนากระบวนการผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากของเสียอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังและการดึงกลับวัสดุเศษเหลือจากกระบวนการเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม
2563 : การพัฒนากระบวนการการผลิตไฮโดรเจนและมีเทนแบบสองขั้นตอนโดยการย่อยร่วมน้ำทิ้งจากกระบวนหมักก๊าซชีวภาพและกากหม้อกรอง
การพัฒนากระบวนการผลิตพลังงานหมุนเวียนจากอ้อย
ระบบการผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากหญ้าเนเปียร์และสาหร่ายขนาดเล็กตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
การพัฒนากระบวนการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากอ้อยและวัสดุเศษเหลือจากกระบวนการผลิตอ้อยและน้ำตาล
การบูรณาการการใช้แผงโซลาร์เซลล์และเซลล์เชื้อเพลิงเพื่อการผลิตไบโอไฮเทนจากกากน้ำตาลภายใต้แนวคิดพลังงานสุทธิเป็นศูนย์
เทคโนโลยีต้นแบบแก๊สไฮเทนจากหญ้าเนเปียร์และสาหร่ายขนาดเล็กตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน.
เทคโนโลยีต้นแบบแก๊สไฮเทนจากหญ้าเนเปียร์และสาหร่ายขนาดเล็กตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
การพัฒนากระบวนการผลิตไฮโดรเจนสีน้ำเงินและสีเขียวอย่างยั่งยืนภายใต้หลักการของเสียเป็นศูนย์
การพัฒนาหัวเชื้อที่มีประสิทธิภาพในการผลิตไฮโดรเจนจากชีวมวลลิกโนเซลลูโลสและวิธีการเก็บรักษา
การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตมีเทนจากไฮโดรไลเสตใบอ้อยด้วยกล้าเชื้อเมทาโนเจนที่ผ่านการปรับสภาพด้วยการทำให้คุ้นชินกับกรดไขมันระเหยง่าย
การผลิตแก๊สชีวภาพแบบรวมศูนย์โดยการย่อยร่วมใบอ้อยที่ผ่านการปรับสภาพกับของเสียอินทรีย์จากอุตสาหกรรมเกษตร
การพัฒนากระบวนการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพต่างๆ โดยใช้ไฮโดรไลเสตของจุลสาหร่าย Chlorella sp. ที่ผ่านการย่อยด้วยวิธีไฮโดรเทอมอลเป็นวัตถุดิบ
การเพาะเลี้ยงเซลล์ของเชื้อ Paracoccus sp.KKU01 แบบมีความหนาแน่นสูงเพื่อการผลิตโพลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (PHA) จากไฮโดรไลเสตของใบอ้อย
ต้นแบบเทคโนโลยีระดับชุมชนเพื่อการผลิตไบโอไฮเทนและปุ๋ยชีวภาพจากใบอ้อยตามหลักการจัดการของเสียให้เป็นศูนย์