Keyword
ชานอ้อย ,
เอทานอล ,
กระบวนการหมัก ,
เชืือเพลิงชีวภาพ ,
โรงงานต้นแบบ ,
ไฮโดรเจน ,
มีเทน ,
ไบโอดีเซล ,
สาหร่ายขนาดเล็ก ,
กากน้ำตาล ,
การหมักแบบย่อยให้เป็นน้ำตาลพร้อมกับการหมัก ,
การหมักร่วม ,
การพัฒนากระบวนการหมัก ,
ตัวทำละลายดีพยูเทคติก ,
พรีไบโอติก ,
เชื้อเพลิงชีวภาพ ,
ไบโอรีไฟเนอรี่ ,
เศรษฐกิจหมุนเวียน ,
ชีวมวล ,
กลีเซอรัลเหลือทิ้ง ,
การปรับสภาพ ,
การเพาะเลี้ยงแบ ,
2561 : การเพิ่มการสะสม docosahexaenoic acid (DHA) ในสาหร่ายทะเลขนาดเล็ก Aurantiochytrium limacinum โดยการเพาะเลี้ยงแบบกึ่งกะ
การผลิตเอทานอลจากกากมันสำปะหลังด้วยกระบวนการย่อยให้เป็นน้ำตาลพร้อมกับการหมักแบบกะซ้ำโดยใช้เอนไซม์อะไมเลสตรึงและเซลล์ Saccharomyces cerevisiae ตรึง
2563 : การใช้ประโยชน์ชานอ้อยจากอุตสาหกรรมการผลิตน้ำตาลเพื่อผลิตกรดแลกติกและสารมูลค่าเพิ่มภายใต้แนวคิดขยะเหลือศูนย์
2563 : การผลิตพลาสติกชีวภาพจากมันสำปะหลังเพื่อเป็นแนวทางการสร้างธุรกิจใหม่ภายใต้เศรษฐกิจฐานชีวภาพ
2563 : การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตพลาสติกชีวภาพจากกากมันสำปะหลังและน้ำเสียจากโรงงานแป้งมันสำปะหลัง
การผลิตพลังงานชีวภาพจากผลพลอยได้ของกระบวนการผลิตน้ำตาลภายใต้แนวคิดไบโอรีไฟเนอรี่
การผลิตเอทานอลจากส่วนเซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลสของชานอ้อยด้วยกระบวนการย่อยให้เป็นน้ำตาลพร้อมกับการหมักร่วมภายใต้แนวคิดไบโอรีไฟเนอรี่
การแยกองค์ประกอบของชานอ้อยด้วยตัวทำละลายดีพยูเทคติกเพื่อการผลิตไซโลโอลิโกแซคคาไรด์และเอทานอลภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน
ไบโอรีไฟเนอรี่ของใบอ้อยเพื่อการผลิตพลาสติกชีวภาพและสารตั้งต้น
การผลิตกรดแลกติกจากใบอ้อยที่ผ่านการปรับสภาพด้วยวิธีไฮโดรเทอร์มอล
การปรับสภาพชานอ้อยด้วยตัวทำละลายดีพยูเทคติกและการหมักชานอ้อยที่ผ่านการปรับสภาพแบบย่อยให้เป็นน้ำตาลพร้อมกับการหมักร่วมเพื่อเพิ่มผลได้ของกรดแลกติก