Keyword
เศษเหลือจากอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล ,
ชานอ้อย ,
จุลินทรีย์ ,
สัตว์เคี้ยวเอื้อง ,
อาหารหยาบ ,
เศษเหลือทิ้งจากโรงงานผลิตกรดซิตริก ,
กากตะกอนยีสต์ ,
โคเนื้อ ,
โคนม ,
เศรษฐกิจหมุนเวียน ,
ขยะเป็นศูนย์ ,
แบคทีเรียที่มีศักยภาพในการลดไซยาไนด์ ,
ไซยาไนด์ ,
นวัตกรรมการให้อาหารใหม่ ,
หัวมันสำปะหลังสด ,
โปรตีนเซลล์เดี่ยว ,
แครบทรีเนกาทีฟยีสต์ ,
ฟางข้าว ,
เทคนิคการคัดแยกเชื้อ ,
กระบวนการหมั ,
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของจุลินทรีย์ในกระเพาะหมักจากการใช้เบต้ากลูแคนจากยีสต์เพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง
การเสริมหัวมันสำปะหลังสด ต่อการกินได้ การย่อยได้ กระบวนการหมักในกระเพาะรูเมน และจุลินทรีย์ในรูเมนของในโคเนื้อพื้นเมืองที่ได้รับอาหารข้นที่มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบระดับสูง
2561 : ผลของระดับกำมะถันในสูตรอาหารผสมสำเร็จหมักที่มีมันสำปะหลังสดเป็นแหล่งพลังงาน ต่อการใช้ประโยชน์ได้ของอาหาร กระบวนการหมักในรูเมน และเมแทบอไลต์ในกระแสเลือดของโคเนื้อพื้นเมือง
ผลของระดับกำมะถันและยูเรียในสูตรอาหารผสมสำเร็จหมักที่มีมันสำปะหลังสดเป็นแหล่งพลังงาน ต่อการใช้ประโยชน์ได้ของอาหาร กระบวนการหมักในรูเมน และการให้ผลผลิตน้ำนมและองค์ประกอบน้ำนมในโครีดนม
2563 : การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ด้วยเศษเหลือจากการเกษตรและโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร
2563 : การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือจากโรงงานอุตสาหกรรมหมักด้วยจุลินทรีย์ในสูตรอาหารผสมสำเร็จต่อกระบวนการหมักในกระเพาะรูเมน ผลผลิตและองค์ประกอบของน้ำนม
2562 : การสร้างผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากชานอ้อยด้วยการหมักกับเชื้อจุลินทรีย์ Lactobacillus casei เพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบในโครีดนม
2562 : การใช้เชื้อจุลินทรีย์ Lactobacillus casei ในการปรับปรุงคุณภาพของฟางข้าวเพื่อใช้เป็นแหล่งอาหารหยาบทดแทนในโคเนื้อพื้นเมืองไทย
2563 : การใช้เชื้อจุลินทรีย์ Lactobacillus casei ในการปรับปรุงคุณภาพของฟางข้าวเพื่อใช้เป็นแหล่งอาหารหยาบทดแทนในโคเนื้อพื้นเมืองไทย
2563 : การคัดแยกเชื้อยีสต์ที่มีศักยภาพจากของเหลวในกระเพราะรูเมนเพื่อเพิ่มคุณภาพของฟางข้าวสำหรับอาหารโค
การลดแก๊สเรือนกระจกที่ผลิตจากสัตว์เคี้ยวเอื้องโดยการใช้อาหารอัดเม็ดที่มีองค์ประกอบของสารพฤกษเคมีจากฝักแคบ้าน
การพัฒนาอาหารเม็ดโปรตีนสูงจากผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมเกษตรเป็นอาหารสัตว์
การเพิ่มศักยภาพการผลิตปศุสัตว์ด้วยเศษเหลือทางการเกษตรและวัตถุดิบอาหารสัตว์ทางเลือก
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเกษตรเป็นอาหารสัตว์ 1
การเพิ่มศักยภาพการผลิตปศุสัตว์โดยใช้แหล่งโปรตีนทางเลือกจากหนอนแมลงวันลาย
แนวทางการนำใช้ประโยชน์ของเศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง
การใช้ประโยชน์ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมอ้อยโดยการหมักด้วยยีสต์ที่มีศักยภาพสูงเป็นแหล่งอาหารหยาบสำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเกษตรเป็นอาหารสัตว์
การศึกษานวัตกรรมการให้อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องด้วยมันสำปะหลังสด
การคัดเลือกสายพันธุ์ยีสต์จากของเหลวในกระเพราะรูเมนเพื่อผลิตโปรตีนเซลล์เดี่ยวศักยภาพสูงสำหรับปรับปรุงคุณภาพของฟางข้าวในอาหารโคนม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์แบบผงแห้งที่ใช้ไซยาไนด์ต่อการใช้ประโยชน์ของมันสำปะหลังสดในสัตว์เคี้ยวเอื้อง
การใช้ประโยชน์เศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมผลิตกรดซิตริกหมักร่วมกับกากตะกอนยีสต์จากกระบวนการผลิตเอทานอลเพื่อเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง
การศึกษาการใช้ประโยชน์จากชานอ้อยหมักกับเชื้อจุลินทรีย์ Lactobacillus casei เพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบสำหรับการผลิตโคเนื้อพื้นเมืองไทยแบบยั่งยืน
การศึกษาผลของระดับเอนไซม์เซลลูเลสและสายพันธุ์ของยีสต์หมักร่วมกับชานอ้อย ต่อคุณภาพของชานอ้อยภายหลังการหมัก องค์ประกอบทางเคมี การกินได้ กระบวนการหมัก และการใช้ประโยชน์ของอาหารในโคเนื้อพื้นเมืองไทย
ผลของการใช้สารพฤกษเคมีจากพืชสมุนไพร (แคบ้าน) ต่อศักยภาพในการลดการผลิตก๊าซเมทเธนและ การใช้ประโยชน์อาหารในโคเนื้อพื้นเมืองไทย
การเพิ่มศักยภาพการใช้ประโยชน์ของฟางข้าวด้วยจุลินทรีย์ Lactobacillus casei เพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบของโคเนื้อพื้นเมืองไทย
การวิจัยและพัฒนาแหล่งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์สารเสริมอาหารสัตว์แบบใหม่เพื่อยกระดับขีดความสามารถการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง
การพัฒนาอาหารสูตรสำเร็จหมักที่มีมันสำปะหลังสดและกำมะถันเป็นองค์ประกอบต่อประสิทธิภาพการผลิตในแพะ
การศึกษาผลของชานอ้อยหมักร่วมกับเอนไซม์และยีสต์ทดแทนฟางข้าวในอาหารผสมสำเร็จหมัก (FTMR) ต่อการกินได้ กระบวนการหมักในรูเมน การย่อยได้ การผลิตและองค์ประกอบทางเคมีของน้ำนม ในโครีดนมเขตร้อนระยะกลางการให้นม